โนงานดังกล่าว โห้มีอยู่ตลอดอายุของผู้สร้างสรรค์ร่วมและมีอยู่ต่อไปอีก เป็นเวลาห้าล่บปี นับแต่ผู้สร้างสรรค์ร่วมคนสุดท้ายถึงแก่ความตาย”สุมทุม บุญเกื้อ (กิ่ง พึ่งบุญ ณ อยุธยา) พ่อของผม เสียชีวิตเมื่อ วันที ๒๖ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒ รวมเวลาจากวันเสียชีวิตชุนถึงบัดนี้ ๕0 ปีนั้นหมายถึงว่า อายุแห่งการคุ้มครองลิขสีทธึ๊ฃองสุมทุม เครื่องไล่หนูพกพา บุญเกื้อ กำจัดหนูในบ้าน ยังคงเหลืออีก ๙ ปีผมเปีนลูกชายคนเดียว จึงได้รับมรดกลิขสีทธึ๊วรรณกรรมของสุมทุม บุญเกื้อ ทุกเรื่อง รวมทั้ง “ขุนศึก” ซึ่งสุมทุม บุญเกื้อ พ่อผมเป็น “ผู้สร้าง สรรค์ร่วม” ด้วย ซึ่งผมมีหลักฐานยืนยันซัดเจนว่า ปัจจุบันผมเป็นเจ้าของ ลิขสีทธิ้วรรณกรรมเรื่อง “ขุนศึก” บทประพันธ์ของไม้ เมืองเดิม และสุมทุม บุญเกื้อ โดยชอบธรรมผมขอเล่าต่อไปเลยว่าไม้ เมืองเดิม “ลุงก้าน” ของผมเขียน “ขุนศึก” ถึงตอนไหน ก่อนจะเสียชีวิต และสุมทุม บุญเกื้อ “พ่อกิ่ง” ของผม เริ่ม เขียน “ขุนศึก” ต่อตั้งแต่ตอนไหนโดยเฉพาะ...สีงที่นักอ่านรุ่นหลังๆ ไม่ทราบเลยว่าสุมทุม บุญเกื้อ เขียน “ขุนศึก” ต่อ ๒ ครั้ง...ครั้งที่ เขียนจบในภาคแรก ต่อมาอีกราว ๒ ปี นายเวช กระตุฤกษ์ เจ้าของสำนักพิมพ์เพลินจิตต์ อ้อนวอนให้พ่อผมเขียน “ขุนสืก” ต่ออีกเป็นครั้งที่ ๒ โนพ.ศ. ๒๕๐๔ ทีแรก พ่อผมจะไม่ ยอมเขียน แต่เมื่อโดนตื้อหนักๆ เข้าพ่อก็ใจอ่อนรับเขียน “
ขุนดีก” ต่ออีก ครั้ง...เรียกว่า “ขุนดีกภาคสมบูรณ์” ต่อมาการพิมพ์ครั้งหลังๆ...นายเวช กระตุฤกษ์ ใช้วิธีตีขลุม...เล่มลูกมั่ว พิมพ์รวมเป็นขุดพรืดเดียวตั้งแต่ต้นจน จบ โดยใส่นามปากกาสุมทุม บุญเกิ้อ ไว้ที่หัวกระดาษของเนื้อในภายใน เล่มเฉพาะตอนที่เขียนต่อภาคสมบูรณ์ครั้งที่ ๒ ส่วนที่สุมทุม บุญเกื้อ เขียนต่อจนจบเรื่องในครั้งแรก พ่อเจ้าประคุณใส่แต่นามปากกาไม้ เมือง เดิม นามเดียว ไม่ใส่นามปากกาสุมทุม บุญเกื้อนี่แหละ...กโลบายนายทุน ซึ่งมุ่งหวังประโยชน์ทางการค้าอย่าง เดียวอย่างอื่นไฝคำนึงถึงถ้าจะถามว่า แล้วทำไมสุมทุม บุญเกื้อ พ่อผมไม่ท้วงตั้งแต่แรก พ่อ ผมหรือครับ...ทั้งใจดี...ทั้งฃี้เกรงใจ แถมเป็นคนง่ายๆไม่มืปากเรียกว่า เฉย ซะจนเกินเหตุเซียวแหละด้วยเหตุฉนื้...จึงแทบไม่มืนักอ่านรุ่นหลังรู้ว่า สุมทุม บุญเกื้อ เขียน “ขุนดีก” ต่อถึง 2 ครั้งแต่เรื่องนื้มืหลังฐานซัดเจนปรากฏอยู่ในการพิมพ์บางครั้ง เซ่น “เพลินจิตต์'’ รายวันที่ลงพิมพ์ “ขุนดีก” ตอนที่สุมทุม บุญเกื้อ เขียนต่อ ครั้งแรกพ.ศ. ๒๔๙๒ ซึ่งมืนามปากกาสุมทุม บุญเกื้อ ปรากฏอยู่รวมทั้งการพิมพ์พ็อคเก็ตบุ๊คบางครั้ง ที่มีการใส่นามปากกา สุมทุม บุญเกื้อไว้ด้วย ส่วนเล่มปกแข็ง 0๖ หน้ายก ที่สำนักพิมพ์เพลินจิตต์ พิมพ์ประมาณ พ.ศ. ๒๔๙๓ - ๒๔๙๔ มีแต่คำนำของสุมทุม บุญเกื้อ อยู่ในเล่มที่ (เป็น การเขียน “ขุนดิก” ต่อครั้งแรกไม่รวมภาคสมบูรณ์ ซึ่งเขียนต่อครั้งที ๒
เครื่องไล่หนู
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น